2.1 AR - Account Receivable หรือลูกหนี้การค้า ตัวชี้วัดคือ Collection
Periods
ระยะเวลาการเก็บเงินจากลูกหนี้การค้า
ดูว่าจะเก็บเงินได้เร็วแค่ไหน
AR
X 365 วัน
หน่วยเป็น “วัน”
ยอดขาย
จำนวนวันจากการคำนวณตามสมการนี้ควรจะออกมาน้อยวันที่สุด
ซึ่งแสดงว่าบริษัทสามารถบริหารลูกหนี้การค้า (หรือยอดขายแบบเชื่อ) ได้รวดเร็ว
หรือเราสามารถเรียกเก็บหนี้จากลูกหนี้ได้เร็วนั้นเอง (ถ้ายิ่งต่ำ
ยิ่งดี
แสดงว่าเก็บเงินลูกค้าได้เร็ว
2.2 การบริหารสินค้าคงเหลือ Inventory Days
ดูระยะเวลาที่สินค้าคงค้างในคลัง
ยาวนานเพียงใด
Inventory
X 365 วัน
(หน่วยนับเป็น “วัน”)
ขาย
ยิ่งน้อยวันยิ่งดี (ญี่ปุ่นใช้ระบบนี้มานานแล้ว เรียกว่า Just in Time)
3. ความสามารถในการก่อหนี้ (Leverage Ratio) ตัวชี้วัด
3 ตัว
3.1 หนี้เมื่อเทียบกับทุน Debt to Equity
TL = < 1
E
ยิ่งน้อย
ยิ่งดี ไม่ควรเกิน 1
เช่น มีทุนใส่เข้าไป 1 ล้าน หนี้ไม่ควรเกิน 1 ล้าน
เพราะจะมีภาระดอกเบี้ย
2 = A L = 1
E = 1
3.2 หนี้สินต่อสินทรัพย์ Debt to Total Asset
TL
หนี้
TA สินทรัพย์ ถ้าหนี้มากกว่าสินทรัพย์ = ล้มละลาย เพราะฉะนั้น
ตัวเลขไม่ควรเกิน 1 หรือน้อยกว่า 1
ยิ่งดี
3.3 ความสามารถในการชำระดอกเบี้ย Time Interest – Earned TIE
EBIT กำหรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี
Interest ภาระดอกเบี้ย
ถ้ายิ่งมากยิ่งดี
เพราะหากกำไรก่อนหักดอกเบี้ยภาษีมากกว่าดอกเบี้ย แสดงว่าความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ยของเรามีสูง
4. ความสามารถในการบริหารสภาพคล่อง Liquidity Ratio ตัวชี้วัด 2 ตัว
4.1 อัตราส่วนหมุนเวียน Current Ratio
CA สินทรัพย์หมุนเวียน
CL หนี้สินรายวัน
CA
= Cash + AR +
Inventory ส่วน
CL คือ หนี้สินหมุนเวียน