Custom Search

MBA Holiday

วันเสาร์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2553


ตามทฤษฎีของการลงทุน ความเสี่ยงในการลงทุน คือ การที่ “อัตราผลตอบแทนที่ผูลงทุนนั้นไดรบ
จริง” (actual return) คาดเคลื่อน หรือ เบี่ยงเบน หรือ แตกตาง ไปจาก “อัตราผลตอบทนที่ผูลงทุนนั้นคาด
หวังไววาจะไดรับ” (expected return)
ความเสี่ยงนอยที่สุด หมายความวา การคาดการณ expected return จากการลงทุน จะมีความ
ผิดพลาดนอยที่สุด
ความเสี่ยงมากที่สุด หมายความวา การคาดการณ expected return จากการลงทุน อาจจะผิด
พลาดไดมากที่สุด
ฉะนั้น ไมวาผูลงทุนจะขาดทุน หรือไดกําไรนอยกวาที่คาดไว หรือไดกําไรมากกวาที่คาดไว ถือ
เปนความเสี่ยงทั้งสิ้น
เพราะความคลาดเคลื่อนเชนนั้น แมวาจะเปนในทางบวก (กําไรมากกวาที่คาดการณไว) จะทําใหผูลงทุน
นั้น วางแผนการลงทุนในอนาคตไดยากลําบาก เชน อาจจัดสรรหรือแบงเงินลงทุน “มากไป” ในหลักทรัพยที่มี
expected return สูง แตกลับมี actual return ต่ํา ในขณะเดียวกันกลับจัดสรรเงินไปลงทุน “นอยไป” ในหลักทรัพย
ที่มี expected return ต่ํา แตกลับมี actual return สูง และมีผลใหผลตอบแทนรวม (total return) ที่ผูลงทุนควรจะ
ไดรบนอยกวาที่ควร
ผูลงทุนที่ชาญฉลาดจึงจําเปนตองมี เครื่องมือในการ “วัดความเสี่ยง” ในการลงทุน เพื่อที่จะไดวางแผน
การลงทุนไดอยางมีประสิทธิภาพ
ความสัมพันธของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการลงทุน
ระดับผลตอบแทนจากการลงทุนในหลักทรัพยหรือทรัพยสินใด ๆ มีความสัมพันธในทิศทางเดียวกันกับ
ระดับความเสี่ยง กลาวคือ หากระดับอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนสูงขึ้น ระดับความเสี่ยงที่ผูลงทุนพึงแบกรับ
จากการลงทุนนั้น จะสูงขึ้นดวยเสมอ
ขอควรคํานึง
การลงทุนใดที่ใหผลตอบแทนสูง มักจะมีระดับความเสี่ยงที่สูงดวยเชนกัน
แตการลงทุนที่มีความเสี่ยงสูง ก็ไมจําเปนวาจะใหผลตอบแทนที่สูงเสมอไป ถาหากผูลงทุนนั้นไมมี
ความรูความสามารถในการลงทุน หรือไมมีดลยพินิจที่ดีพอ และไมมีความรอบคอบเพียงพอในการ
เลือกหลักทรัพยที่จะลงทุน ที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของตน ทั้งนี้ การเลือกหลักทรัพยที่จะลงทุนจะ
ใชหลักการในการประเมินผลตอบแทนที่คาดหวัง (Expected Return) ที่จะกลาวตอไป
ปจจัยความเสี่ยง
ความเสี่ยงในการลงทุน มาจากปจจัยสําคัญ 2 ประเภทดวยกัน คือ
1. ความเสี่ยงที่เกิดจาก “ปจจัยมหภาค (macro factors)” ไดแก pervasive risk และ systematic risk
เปน ความเสี่ยงที่เปนระบบ มีอิทธิพลตออัตราผลตอบแทนของหลักทรัพยในตลาดทุนโดยรวม จึงเปนความเสี่ยง
ที่ผูลงทุนไมอาจขจัดใหหมดไปจากการลงทุนนั้นได
2. ความเสี่ยงที่เกิดจาก “ปจจัยจุลภาค (micro factors)” ไดแก unsystematic risk หรือ ความเสี่ยงที่ไม
เปนระบบ หรือ ความเสียงเฉพาะตัว ที่เมื่อเกิดขึ้นแลวจะกระทบหลักทรัพยใดหลักทรัพยหนึ่งโดยเฉพาะผูลงทุน
สามารถขจัดหรือลดความเสี่ยงประเภทนี้ได โดยการกระจายการลงทุนในหลักทรัพยหลายตัวที่พิจารณาคัดเลือก
อยางถวนถี่แลว
แนวความคิดขางตนสามารถอธิบายไดดงนี้ หากผูลงทุนไดกระจายเงินลงทุนในหลักทรัพยตางหลักทรัพย
ในจํานวนที่มากขึ้น ความเสี่ยงที่ไมเปนระบบ (umsystematic risk) จะลดต่ําลงตามลําดับเพราะความเสี่ยงของแต
ละหลักทรัพยที่ตางกัน จะชดเชยกันเอง ทําใหระดับความเสี่ยงรวม (total risk) ของกลุมหลักทรัพย (portfolio) ที่ลง
ทุน ลดต่ําลงตามลําดับเชน ในที่สุดแลว ความเสี่ยงที่กระทบกลุมหลักทรัพยที่ลงทุน ก็จะคงเหลือแตความเสี่ยงที่
เปนระบบ (pervasive และ systematic risk) เปนสวนใหญ
ดังนั้นจึงควรกระจายการลงทุนเพื่อใหไดผลในการลดความเสี่ยงดังกลาวควรกระจายการลงทุนในหลัก
ทรัพยที่ตางกัน มากกวา 15 หลักทรัพยขึ้นไป

0 Comments:

Post a Comment



บทความที่ได้รับความนิยม